กิจที่สำคัญที่สุด
ท่านเคยคิดไหมว่า หากเราทราบแน่นอนว่า จะมีชีวิตอยู่ถึง ๑๐๐ ปี เราจะวางแผนชีวิตอย่างไร
ทำไมต้องทาน ศีล ภาวนา
การให้ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิภาวนา เป็นข้อปฎิบัติในชีวิตประจำวันของชาวพุทธ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมอบไว้ให้
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑)
ในโลกแห่งความเป็นจริง มนุษย์ต่างแสวงหาความพอดี แต่เนื่องจากมีอวิชชามาบดบังดวงปัญญาไว้
วิบากกรรมพิมพ์ธนบัตรปลอม
คนพิมพ์ธนบัตรปลอมกับคนใช้ธนบัตรปลอมจะได้รับวิบากกรรมอย่างไร และคนใช้ธนบัตรปลอมทั้งๆ ที่รู้แล้วใช้ กับคนที่ใช้เพราะไม่รู้ จะได้รับกรรมต่างกันอย่างไร
"ปลื้ม" หัวใจของการสร้างบุญ
คำว่าปลื้มเป็นคำทั่วไปที่เราใช้กันคุ้นเคยแต่ศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าปลื้มก็คงเป็นคำว่า “ปีติ” (ไม่ใช่ปิติ) ปีติมี ๕ ประการ
ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 2 ชนะพญามาร)
เราแสวงหานายช่างผู้กระทำเรือน เมื่อไม่ประสบ จึงได้ท่องเที่ยวไปในสงสารมิใช่น้อย การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ดูก่อนนายช่างผู้กระทำเรือน เราเห็นท่านแล้ว ท่านจักไม่ได้กระทำเรือนอีกต่อไป ซี่โครงทั้งหมดของท่านเราหักเสียแล้ว ยอดเรือนเราก็กำจัดแล้ว จิตของเรา ถึงวิสังขารคือพระนิพพานแล้ว เราได้ถึงความสิ้นตัณหาแล้ว ดังนี้...
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
“ทุ่มสุดฤทธิ์ ปิดเจดีย์” ตอน 2
ลอนดอนพูดแล้วต้องทำ นี่..ไม่ใช่ยอดโม้นะ ตอนนี้ทยอยส่ง (ปัจจัย) เข้ามาแล้ว และจะเร่งรีบปิดองค์พระหนึ่งพันองค์แรกให้สำเร็จภายใน 2 สัปดาห์ พันองค์แรกนี้ เรียกว่า “พันกระตุ้น” คือ แค่กระตุ้นๆให้ศูนย์สาขาทั่วโลกตื่นตัว ว่าลอนดอนเขาถึงพันองค์แล้วนะ จากนั้นเราจะวิ่งเข้าสู่พันที่สอง เรียกว่า “พันกระตือรือร้น”
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
มหานรก ๘ ขุม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ เหมือนถูกนำมาโยนลงในนรก ธรรม ๔ ประการ คือ บุคคลผู้มีกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และเป็นมิจฉาทิฏฐิ ผู้ที่ประพฤติธรรม ๔ ประการนี้เหมือนถูกโยนลงในนรก